ตัววิ่ง

ยินดิต้อนรับสู่บล็อกของ น.ส.กนกวรรณ สวัสดิ์วงศ์วิชา

วันพุธที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2563

วิธีการเขียนโครงงาน

 วิธีการเขียนโครงงาน

       1.  ชื่อโครงงาน
2. 
 ชื่อผู้ทำโครงงาน
3. 
 ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
4. 
 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
5.
  วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
6.
  สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี)
7.
  วิธีดำเนินงาน
8. 
 แผนปฏิบัติงาน
9.
  ผลที่คาดว่าจะได้รับ
10.
 เอกสารอ้างอิง อ่านเพิ่มเติม



วันพุธที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2563

10.การออกแบบขั้นตอนวิธี

การออกแบบขั้นตอนวิธี สำหรับการออกแบบในการเรียนรู้เบื้องต้น จะให้นักเรียนเรียนรู้เฉพาะการออกแบบการแก้ปัญหาเท่านั้น นั่นคือไม่รวมถึงการออกแบบหน้าจอ (User interface) หรือออกแบบฐานข้อมูล (Database) หรืออื่นๆ วิธีการออกแบบการแก้ปัญห อ่านเพิ่มเติม

9.การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหา

    การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหาในการที่จะแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งได้นั้น สิ่งแรกที่ต้องทำคือทำความเข้าใจเกี่ยวกับถ้อยคำต่างๆ ในปัญหา แล้วแยกปัญหาให้ออกว่าอะไรเป็นสิ่งที่ต้องหา แล้วมีอะไรเป็นข้อมูลที่กำหนด และมีเงื่อนไขใดบ้าง หลังจากนั้นจึงพิจารณาว่าข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดให้นั้นเพียงพอที่จะหาคำตอบของปัญหาได้ห อ่านเพิ่มเติม

8.การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

     การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสุดก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา แต่ผู้แก้ปัญหามักจะมองข้ามความสำคัญของขั้นตอนนี้อยู่เสมอ จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือ การทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กำหนดมาในปัญหาหรือ เงื่อนไขของปัญหาคืออะไร และสิ่งที่ต้องการคืออะไร อีกทั้งวิธีก อ่านเพิ่มเติม

7.การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา

 

   การแยกส่วนประกอบ และการย่อยปัญหา (decomposition)

การแยกส่วนประกอบเป็นวิธีคิดรูป แบบหนึ่งของแนวคิดเชิงคำนวณ เป็นการพิจารณาเพื่อ แบ่งปัญหาหรืองานออกเป็นส่วนย่อย ทำให้สามารถ จัดการกับปัญหาหรืองานได้ง่ายขึ้น เพื่ออธิบายแนวคิดนี้ ให้ อ่านเพิ่มเติม

6.การหารูปแบบ (pattern recognition)

    ารหารูปแบบเป็นทักษะการหาความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้อง แนวโน้ม และลักษณะ ทั่วไปของสิ่งต่าง ๆ โดยทั่วไปแล้วนักเรียนจะเริ่มพิจารณาปัญหาหรือสิ่งที่สนใจ จากนั้นอาจใช้ทักษะการแยกส่วนประกอบทำให้ได้องค์ประกอบภายในอื่น ๆ แล้ว อ่านเพิ่มเติม

5.การคิดเชิงนามธรรม

 แนวคิดเชิงนามธรรม (abstract thinking หรือ abstraction) เป็นองค์ประกอบหนึ่งของแนวคิดเชิงคำนวณ (computational thinking) ใช้กระบวนการคัดแยกคุณลักษณะที่สำคัญออกจากรายละเอียดปลีกย่อยในปัญหา หรืองานที่กำลังพิจาณา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จำเป็นและเพียงพ อ่านเพิ่มเติม